อิเล็กทรอนิกส์พอเพียง เล่ม 1

ผู้เขียน: อภิเชษฐ์ การัยภูมิ
ISBN: 978-974-13-0909-2
จำนวนหน้า: 192 หน้า
ขนาด: 14.5 x 21 ซม.
รูปแบบหนังสือ: หนังสือขาวดำ

ราคาปก: 100 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 85 บาท
ส่งหน้านี้ให้เพื่อน  


อิเล็กทรอนิกส์พอเพียง คือ ความพอดีและลงตัวในการนำสิ่งของหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่สามารถหาได้ง่าย ราคาถูกมาประยุกต์ใช้บนพื้นฐานความรู้ที่มี แล้วค่อยๆ พัฒนาต่อยอดตามความเหมาะสม จะได้สนุกกับอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีความสุข

    หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน
  • ส่วนแรกคือ โครงงานอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เน้นการใช้อุปกรณ์พื้นฐาน แต่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี อาทิ การแปลงไฟแบตเตอรี่จาก 12V เป็น 220V 50Hz, สร้างวงจรเพิ่มเสียงแหลมให้เครื่องเสียงคู่ใจ, การสร้างแอมป์ขนาดเล็ก 10W + 10W, การทำแผ่นปรินต์ใช้เอง ฯลฯ
  • ส่วนหลังคือ แนะนำวิธีการใช้โปรแกรม Protel มาช่วยออกแบบวงจร เพื่อให้การสร้างโครงงานอิเล็กทรอนิกส์ง่ายขึ้น
เนื้อหาหนังสือเล่มนี้มีแต่เรื่องเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ที่อ่านเข้าใจง่าย สบายๆ ใช้งานได้จริง บนพื้นฐานของความพอเพียง

หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง

  • ผู้มีใจรักที่จะเล่นอิเล็กทรอนิกส์ให้สนุก และนำไปใช้งานได้จริง
  • ผู้ที่ต้องการศึกษาแนวความคิดทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำให้ชีวิตง่ายขึ้น
  • ผู้ที่เคยอ่านหนังสือ "คิดเอง+ทำเอง อิเล็กทรอนิกส์แบบชาวบ้าน" เล่ม 1 และเล่ม 2 รวมทั้งหนังสือ "อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย" เล่ม 1 และเล่ม 2 มาแล้ว
  • สำคัญที่สุด! ต้องเข้าใจความหมายของการใช้ชีวิตแบบพอเพียง

ผู้อ่านควรมีความรู้อะไรมาก่อนบ้าง

  • ระดับการศึกษาไม่จำกัด เพียงแค่อ่านภาษาไทยได้และภาษาอังกฤษได้บ้างก็พอ
  • มีความรู้พื้นฐานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์มาก่อน

จะสนุกกับอิเล็กทรอนิกส์ตามตัวอย่างในหนังสือเล่มนี้ ต้องมีอะไรบ้าง

  • ไขควงและคีมแบบต่างๆ เพื่อการขัน-ถอด-งัด-ตัด
  • มัลติมิเตอร์แบบเข็มหรือแบบดิจิตอลแล้วแต่ความถนัด สำหรับการวัดไฟในลักษณะต่างๆ
  • หัวแร้งขนาดไม่เกิน 35W พร้อมตะกั่วบัดกรี สำหรับเชื่อมต่อสายไฟและอุปกรณ์
  • อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เก่าๆ ที่คิดว่าน่าจะมีประโยชน์ซึ่งสามารถหยิบฉวยได้ใกล้ๆ ตัว เอาไว้ถอดมาใช้กับโครงงานใหม่ของเรา เพื่อความประหยัด


บทที่ 1 แปลงไฟ 12V เป็น 220V 50Hz ขนาดเล็ก

  • เครื่องปั๊มอากาศต้องการอะไร?
  • หลักการของเครื่องปั๊มอากาศ
  • ประเด็นน่าคิดเกี่ยวกับเครื่องปั๊มอากาศ
  • แปลงไฟให้เหมาะ
  • คิดวงจรแปลงไฟ
  • วงจรผลิตความถี่
  • เลือกอุปกรณ์ใส่ในวงจร
  • ขยายกระแสก่อนขับหม้อแปลง
  • เลือกอุปกรณ์ชุดขยายกระแสขับหม้อแปลง
  • วงจรใช้งานจริง
  • การสร้างและนำไปใช้งาน
  • ถึงเวลาลงมือสร้างวงจรที่ต้องการ
  • ลองนำใช้งาน

บทที่ 2 แปลงไฟ 12V เป็น 220V 50Hz ขนาดเล็ก

  • หลอด LED ต้องการอะไร?
  • เพิ่มจำนวนหลอด LED อย่างไรดี?
  • ต่อหลอด LED แบบขนาน
  • ต่อหลอด LED แบบอนุกรม
  • ต่อหลอด LED แบบผสม

บทที่ 3 เพิ่มเสียงใสๆ

  • หาวิธีเพิ่มเสียงแหลมแบบสุดๆ
  • ควรเพิ่มลำโพงเสียงแหลมอีกชุด
  • ต่อวงจรเพิ่มเสียงแหลมดีกว่า
  • วงจรเพิ่มเสียงแหลม
  • เพิ่มเสียงแหลมแบบง่ายๆ
  • วงจรเพิ่มเสียงแหลมน่าสน
  • ลงมือสร้างชุดโครงงาน
  • แจกแจงรายการอุปกรณ์
  • หน้าตาแผ่นปรินต์ตัวจริง
  • การทดสอบและนำไปใช้งาน

บทที่ 4 คุ้มจริงๆ นำไอซี 7805 มาปรับไฟได้ 5V ถึง 22V

  • เพิ่มแรงดันอย่างไรดี?
  • วิธีหาค่า R
  • ลองวงจรสมบูรณ์
  • สรรหาอุปกรณ์
  • การสร้างและนำไปใช้งาน
  • แจกแจงรายการอุปกรณ์
  • หน้าตาแผ่นปรินต์ตัวจริง
  • การทดสอบ

บทที่ 5 แอมป์เล็ก 10W + 10W

  • ชุดขยายเสียงวิทยุรถยนต์น่าสนดี
  • ไอซีขยายเสียง TDA2004 น่าสนใจ
  • คุณสมบัติเด่น
  • รูปร่างหน้าตา
  • ขาใช้งาน
  • ลองวงจรขยายเสียง
  • วงจรใช้งานจริง
  • ลงมือสร้างชุดโครงงาน
  • แจกแจงรายการอุปกรณ์
  • หน้าตาแผ่นปรินต์ตัวจริง
  • ทดสอบวงจร
  • คำแนะนำเพิ่มเติม

บทที่ 6 ทำแผ่นปรินต์ใช้เองกันเถอะ

  • แผ่นปรินต์ที่ใช้ในโครงงานต่างๆ
  • แผ่นปรินต์ทำเองมีกี่แบบ?
  • ว่าด้วยการทำแผ่นปรินต์
  • การเขียนด้วยปากกาเคมี
  • การซิลก์สกรีน
  • การทำแผ่นปรินต์ด้วยกระดาษกาว
  • วิธีการทำแผ่นปรินต์ใช้เองอื่นๆที่น่าสนใจ

บทที่ 7 เทคนิคยืดอายุหลอดไฟมอเตอร์ไซค์

  • ทำไมหลอดไฟขาดบ่อย
  • ทำความเข้าใจวงจรไฟฟ้ารถมอเตอร์ไซค์เบื้องต้น
  • ลองดูวงจรไฟฟ้ารถมอเตอร์ไซค์รุ่นลายคราม
  • การทำงานของวงจร
  • อุปกรณ์คุมไฟ
  • ทำอย่างไรให้หลอดไฟไม่ขาดง่าย
  • วิธีที่หนึ่ง หาทางเบี่ยงกระแส
  • วิธีที่สอง ใช้เทคนิคลดกระแสกันดีกว่า

บทที่ 8 ชุดวัดอุณหภมิอย่างง่ายๆ

  • แนวคิดการนำไดโอดมาตรวจวัดอุณหภูมิ
  • วงจรวัดอุณหภูมิแบบง่ายๆ
  • ไอซีออปแอมป์ช่วยเหลือตัวตรวจวัดอุณหภูมิ
  • วงจรจ่ายไฟ +15V GND -15V
  • สร้างชุดทดลองวัดอุณหภูมิอย่างง่ายๆ
  • ทดลองวัดอุณหภูมิกันเลย
  • การนำไปใช้งาน

บทที่ 9 ลองเล่น Protel แบบลูกทุ่งๆ

  • ชอบ Protel V 2.71 ที่สุดเลย
  • จุดอ่อนที่ยอมรับได้
  • ติดตั้งโปรแกรมกันเถอะ
  • ลองเปิด-ปิดโปรแกรม

บทที่ 10 เทคนิคออกแบบเกี่ยวกับอุปกรณ์

  • คุณสมบัติพื้นฐานของแผ่นปรินต์
  • ออกแบบเกี่ยวกับอุปกรณ์
  • หาฟังก์ชันเกี่ยวกับอุปกรณ์ก่อน
  • หน่วยวัดใน Protel
  • สร้างรูปอุปกรณ์ใหม่จากรูปอุปกรณ์เดิม
  • เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการภาพ
  • เริ่มปรับแต่งอุปกรณ์
  • เลเยอร์ของแผ่นปรินต์
  • แก้ไขจุดบัดกรี
  • ไลบรารีที่โดนใจผม
  • ติดตั้งไลบรารีใหม่

บทที่ 11 วางตำแหน่งอุปกรณ์

  • การวางตำแหน่งอุปกรณ์
  • ลงมือวางตำแหน่งอุปกรณ์
  • การย้ายอุปกรณ์
  • วางรูปของอุปกรณ์ที่เหลือ
  • งดแสดงข้อความกำกับรูปอุปกรณ์
  • ย้ายและเปลี่ยนทิศทางตัวอักษร
  • ช่วยให้ออกแบบง่ายขึ้น
  • รูยึดแผ่นปรินต์
  • เรียกใช้จุดบัดกรี
  • บันทึกไฟล์งาน

บทที่ 12 ออกแบบลายวงจร

  • กำหนดขอบเขตของแผ่นปรินต์
  • ออกแบบลายวงจร
  • ลากเส้นลายวงจร
  • ยกเลิกสิ่งผิด
  • การลบเส้น
  • สั่งพิมพ์ออกกระดาษ