พื้นฐาน + ประยุกต์ใช้ CodeIgniter + MySQL + Dreamweaver

ผู้เขียน: สถิตย์ เรียนพิศ
ISBN: 978-616-7119-46-5
จำนวนหน้า: 400 หน้า
ขนาด: 16.5 x 19 x 2.1 ซม.
รูปแบบหนังสือ: หนังสือขาวดำ

ราคาปก: 225 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 200 บาท
ส่งหน้านี้ให้เพื่อน  


  • พัฒนาระบบ CAPTCHA เพื่อป้องกัน SPAM
  • ทำ Shopping Cart เพื่อเปิดร้านค้าออนไลน์
  • ย่นระยะเวลาเขียนเว็บแอปฯ ด้วย Helper และ Library
  • ไม่ต้องเก่ง SQL ก็จัดการฐานข้อมูลได้ด้วยเทคนิค Active Record
  • เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเว็บแอปฯ และรองรับการทำงานเป็นทีม ด้วยเทคนิค MVC (Model-View-Controller)

หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใครบ้าง?

  • ผู้ที่สนใจการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันด้วยภาษา PHP
  • ผู้ที่สนใจการพัฒนาเว็บด้วยเฟรมเวิร์ก (Framework)
  • ผู้ที่ต้องการศึกษาวิธีการเขียนโปรแกรมแบบ MVC

จะอ่านหนังสือเล่มนี้ควรมีทักษะหรือความรู้อะไรบ้าง?

  • การเขียนสคริปต์ด้วยภาษา PHP
  • การใช้โปรแกรม Adobe Dreamweaver
  • การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุหรือ OOP
  • การใช้งานระบบฐานข้อมูล MySQL

จะทดลองทำตามตัวอย่างในหนังสือ ต้องมีอะไรบ้าง?

  • ระบบปฏิบัติการ Windows XP, Windows Vista หรือ Windows 7 อย่างใดอย่างหนึ่ง
  • โปรแกรม AppServ สำหรับ PHP และ MySQL เวอร์ชัน 5 ขึ้นไป
  • CodeIgniter เวอร์ชัน 2.0 ขึ้นไป
  • โปรแกรม Adobe Dreamweaver


บทที่ 1 ติดตั้ง AppServ

เนื้อหาอธิบายเกี่ยวกับการติดตั้งโปรแกรมเพื่อทำเป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์จำลองในเครื่องของตัวเองเพื่อใช้งาน Apache, PHP, MySQL และ phpMyAdmin โดยใช้โปรแกรม AppServ เหตุผลที่เลือกใช้ AppServ เนื่องจากเป็นที่นิยมและการกำหนดค่าคอนฟิกต่างๆ ก็ทำเหมือนกับการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการตัวอื่นๆ

  • ขั้นตอนการติดตั้ง
  • การเริ่ม รีสตาร์ต และหยุดเซอร์วิส
  • ทดสอบการทำงานของ phpMyAdmin และ MySQL
    • เริ่มทดสอบการทำงานของ phpMyAdmin และ MySQL
    • กำหนดค่าการล็อกอินของ phpMyAdmin
  • การกำหนดค่าและควบคุมการทำงานของ Apache
    • การเริ่ม (Start)
    • การรีสตาร์ต (Restart)
    • การหยุด (Stop)
  • การกำหนดค่า PHP
    • กำหนดการแสดงข้อผิดพลาด (Display Error)
    • การกำหนดขนาดไฟล์ในการอัปโหลด
    • การกำหนดค่า Register Globals
    • การเปิด/ปิดส่วนเสริม (Extensions)
  • การกำหนดค่า MySQL
    • การเปลี่ยนพอร์ตการทำงาน
    • การเปลี่ยนโฟลเดอร์สำหรับเก็บฐานข้อมูลหลัก
    • จัดการกับผู้ใช้งาน
    • การสำรองข้อมูล (Backup)
    • การนำข้อมูลกลับมาใช้ (Restore)

บทที่ 2 การใช้งาน Adobe Dreamweaver

เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้นของ Dreamweaver ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดค่าพื้นฐานก่อนการใช้งาน, การกำหนด Layout ของ Workspace เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน, การใช้งานเครื่องมือต่างๆ ของ Dreamweaver นอกจากนั้นยังมีตัวอย่างการออกแบบเว็บเพจและการใช้งาน CSS อีกด้วย

  • โหลดชุดติดตั้ง
  • การกำหนดค่าเริ่มต้น
  • จัดการกับไซต์ (Site)
    • การสร้างไซต์ใหม่
    • การเปิดใช้งานไซต์
  • การกำหนดรูปแบบเวิร์กสเปช (Workspace)
  • การกำหนดค่าเอกสาร (Page properties)
  • การจัดรูปแบบข้อความ
    • การจัดรูปแบบโดยใช้ HTML
    • การจัดรูปแบบโดยใช้ CSS
  • การจัดการกับ CSS (Cascading Style Sheets)
  • จัดการกับรูปภาพ
    • การแทรกรูปภาพ
    • การตกแต่งรูปภาพ
    • การสร้าง Image map
    • การสร้าง Rollover Image
  • การแทรกตาราง

บทที่ 3 พื้นฐาน PHP และ MySQL

รู้จักกับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา PHP และการใช้งาน MySQL โดย PHP จะเป็นการอธิบายการเขียนโปรแกรม เช่น การใช้คำสั่งให้ทำงานวนรอบแบบมีเงื่อนไข (Loop Condition), การใช้งานฟังก์ชัน, การเขียนโปรแกรมแบบ OOP, ติดต่อกับ ฐานข้อมูล MySQL ฯลฯ ส่วนเนื้อหาของ MySQL จะเกี่ยวกับการใช้งานคำสั่งพื้นฐาน เช่น SELECT, INSERT, DELETE, UPDATE, CREATE เป็นต้น

  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP
  • เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่สนับสนุนการใช้งาน PHP
  • การเขียนภาษา PHP เบื้องต้น
    • ตัวแปรในภาษา PHP
    • ตัวแปรแบบอาร์เรย์ (Array)
    • คำสั่ง while
    • คำสั่ง do…while
    • คำสั่ง for
    • คำสั่ง foreach
    • คำสั่ง if….else
    • การใช้งานฟังก์ชัน (Function)
    • การใช้งาน Class/Object
    • การใช้งาน Session
    • การใช้งาน Cookie
  • พื้นฐาน MySQL
  • การเข้าใช้งาน MySQL
    • การสร้างฐานข้อมูล
    • การแสดงรายชื่อฐานข้อมูล
    • การสร้างตาราง
    • การแสดงรายชื่อตารางในฐานข้อมูล
    • การดูรายละเอียดของตาราง
    • การแก้ไขข้อมูลตาราง
    • การเพิ่มข้อมูลในตาราง (INSERT)
    • การเลือกข้อมูลในตาราง (SELECT)
    • การแก้ไขข้อมูล (UPDATE)
    • การลบข้อมูลในตาราง (DELETE)
    • การลบตาราง

บทที่ 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ CodeIgniter

อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของ CodeIgniter, การดาวน์โหลดและการติดตั้ง, แนวความคิดของ Framework, ประโยชน์ของการใช้งาน Framework เพื่อใช้ในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน นอกจากนั้นจะมีตัวอย่างการเขียนโปรแกรมโดยใช้ CodeIgniter ในลักษณะง่ายๆ เพื่อให้เห็นการทำงานของ CodeIgniter Framework

  • ข้อแตกต่างระหว่างเฟรมเวิร์ก (Framework) และไลบรารี (Library)
    • ความหมายของเฟรมเวิร์ก (Framework)
    • ความหมายของไลบรารี (Library)
  • เกี่ยวกับ CodeIgniter
  • เปรียบเทียบ CodeIgniter กับเฟรมเวิร์กตัวอื่นๆ
    • การเปรียบเทียบระหว่าง CodeIgniter กับ CakePHP
    • เปรียบเทียบระหว่าง CodeIgniter กับ Zend Framework
    • เปรียบเทียบระหว่าง CodeIgniter กับ Yii
  • การเขียนโปรแกรมแบบ MVC (Model - View - Controller)
  • การติดตั้ง CodeIgniter
    • ความต้องการขั้นพื้นฐาน
    • ดาวน์โหลดโปรแกรม
    • การติดตั้ง
    • การกำหนดค่าไซต์ (Site) ใน Adobe Dreamweaver
    • โครงสร้างไฟล์
    • การกำหนดค่าใช้งาน
  • การใช้งาน Controller
    • โครงสร้างของคอนโทรลเลอร์ (Controller)
    • การตั้งชื่อ Controller
    • การกำหนดค่า Constructor
    • การสร้างฟังก์ชัน (Function)
    • การสร้างฟังก์ชันเพื่อรับค่าตัวแปร
    • การสร้างฟังก์ชันส่วนตัว (Private function)
    • การสร้างคอนโทรลเลอร์ (Controller) ในโฟลเดอร์ย่อย
    • สรุปเกี่ยวกับ Controller
  • การใช้งาน View
    • การสร้างไฟล์ View
    • การเรียกใช้งาน View ใน Controller
    • การเรียกใช้งานไฟล์ View หลายไฟล์พร้อมกัน
    • การส่งค่าจาก Controller ไปยัง View
    • การแสดงค่าตัวแปรใน View
    • การแสดงข้อมูลโดยการวนลูป
    • สรุปเกี่ยวกับ View
  • การใช้งาน Model
    • โครงสร้างของ Model
    • การสร้างคลาส Model
    • กำหนดค่าการเชื่อมต่อฐานข้อมูล
    • การสร้างฟังก์ชันในคลาส Model
    • การเรียกใช้งานคลาส Model ใน Controller
    • สรุปเกี่ยวกับ Model

บทที่ 5 การใช้งาน CodeIgniter กับฐานข้อมูล

สำหรับในบทนี้อธิบายเกี่ยวกับการใช้งาน CodeIngiter จัดการกับฐานข้อมูล MySQL เนื้อหาจะกล่าวตั้งแต่การกำหนดค่าและการใช้งานแบบพื้นฐานในการจัดการกับฐานข้อมูลของ MySQL โดยจะมีตัวอย่างประกอบและรายละเอียดอธิบายการใช้งานอย่างครบถ้วน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถนำไปประยุกต์การใช้งานได้จริง

  • ความรู้เบื้องต้น
  • สร้างฐานข้อมูลและตาราง
  • การกำหนดค่าการเชื่อมต่อฐานข้อมูล
  • สร้าง Controller
  • การใช้งานฟังก์ชัน query()
    • การเข้าถึงข้อมูลในฟิลด์ของตาราง
    • การเพิ่มข้อมูล
    • การปรับปรุงข้อมูล
    • การลบข้อมูล
  • การใช้งานทรานแซ็กชัน (Transaction)
  • การใช้งาน Query Binding

บทที่ 6 จัดการฐานข้อมูลด้วย Active Record

ใช้งาน Active Record เพื่อสร้างชุดคำสั่ง SQL โดย Active Record เป็น Class Library ของ CodeIgniter ที่ช่วยให้เราสามารถสร้างชุดคำสั่ง SQL ได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องกังวลว่าฐานข้อมูลที่ใช้อยู่นั้นจะเป็นของค่ายไหน เช่น PostgreSQL, Oracle หรือ SQLite นอกจากนั้นยังมีการประยุกต์ใช้งาน เช่น การทำ paging และโปรแกรมตัวอย่างด้วย

  • การใช้งาน Active Record
  • การค้นหาหรือเลือกข้อมูล (SELECT)
    • ฟังก์ชัน get()
    • ฟังก์ชัน get_where()
    • ฟังก์ชัน select()
    • ฟังก์ชัน select_min()
    • ฟังก์ชัน select_max()
    • ฟังก์ชัน select_avg()
    • ฟังก์ชัน select_sum()
    • ฟังก์ชัน where()
    • ฟังก์ชัน or_where()
    • ฟังก์ชัน where_in(), or_where_in(), where_not_in(), or_where_not_in()
    • ฟังก์ชัน like()
    • ฟังก์ชัน or_like(), not_like(), or_not_like()
    • ฟังกช์ชัน group_by()
    • ฟังก์ชัน having(), or_having()
    • ฟังก์ชัน join()
    • ฟังก์ชัน order_by
    • ฟังก์ชัน limit()
    • ฟังก์ชัน count_all()
    • ฟังก์ชัน count_all_results()
  • การเพิ่มข้อมูล (INSERT)
    • ฟังก์ชัน set()
    • ฟังก์ชัน insert()
  • การปรับปรุงข้อมูล (UPDATE)
  • การลบข้อมูล (DELETE)

บทที่ 7 HTML, Form และ URL Helper เครื่องมือเขียนโปรแกรม

HTML Helper จะช่วยให้เราสามารถสร้างแท็กพื้นฐานของ HTML เช่น <br>, <img>, <ul>, <ol> ส่วน Form Helper จะช่วยเราสร้างฟอร์มได้ง่ายขึ้นโดยใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของ Helper ช่วย และ URL Helper ช่วยให้เราสร้างแท็กสำหรับการลิงก์ เช่น การสร้างลิงก์แบบ popup, การ redirect ไปยังหน้าเพจอื่น การสร้างลิงก์อีเมล เป็นต้น

  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Helper ของ CodeIgniter
  • การเรียกใช้งาน Helper
  • การใช้งาน HTML Helper
    • ฟังก์ชัน br()
    • ฟังก์ชัน heading()
    • ฟังก์ชัน img()
    • ฟังก์ชัน link_tag()
    • ฟังก์ชัน nbs()
    • ฟังก์ชัน ol()
    • ฟังก์ชัน ul()
    • ฟังก์ชัน meta()
    • ฟังก์ชัน doctype()
  • การใช้งาน Form Helper
    • ฟังก์ชัน form_open()
    • ฟังก์ชัน form_close()
    • ฟังก์ชัน form_open_multipart()
    • ฟังก์ชัน form_hidden()
    • ฟังก์ชัน form_input()
    • ฟังก์ชัน form_password()
    • ฟังก์ชัน form_upload()
    • ฟังก์ชัน form_textarea()
    • ฟังก์ชัน form_dropdown()
    • ฟังก์ชัน form_multiselect()
    • ฟังก์ชัน form_fieldset(), form_fieldset_close()
    • ฟังก์ชัน form_checkbox()
    • ฟังก์ชัน form_radio()
    • ฟังก์ชัน form_submit()
    • ฟังก์ชัน form_reset()
    • ฟังก์ชัน form_button()
    • ฟังก์ชัน form_label()
  • การใช้งาน URL Helper
    • การเรียกใช้งาน Helper
    • ฟังก์ชัน site_url()
    • ฟังก์ชัน base_url()
    • ฟังก์ชัน current_url()
    • ฟังก์ชัน anchor()
    • ฟังก์ช้น anchor_popup()
    • ฟังก์ชัน mailto()
    • ฟังก์ชัน safe_mailto()
    • ฟังก์ชัน auto_link()
    • ฟังก์ชัน prep_url()
    • ฟังก์ชัน url_title()
    • ฟังก์ชัน redirect()

บทที่ 8 การใช้งาน CAPTCHA และ File Helper

CAPTCHA ถือว่ากำลังได้รับความนิยมในการใช้ป้องกันสแปม เช่น ในเว็บบอร์ด เว็บบล็อก หรือเว็บที่ใช้แสดงความเห็นต่างๆ ส่วน File Helper จะช่วยให้สามารถจัดการกับไฟล์และโฟลเดอร์ได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างไฟล์ เขียนไฟล์ ลบไฟล์ สร้างโฟลเดอร์ หรือลบโฟลเดอร์ เพียงใช้คำสั่งไม่กี่บรรทัดก็สามารถจัดการกับไฟล์และโฟลเดอร์ได้ทันที

  • การใช้งาน CAPTCHA Helper
    • การเรียกใช้ CAPTCHA Helper
    • หลักการทำงาน CAPTCHA Helper
    • ตัวอย่างการใช้งาน CAPTCHA
    • การใช้งาน CAPTCHA Helper กับฐานข้อมูล
  • การใช้งาน File Helper
    • การเรียกใช้ File Helper
    • การอ่านข้อมูลจากไฟล์
    • การเขียนข้อมูลลงไฟล์
    • การลบไฟล์
    • การดูรายละเอียดของไฟล์

บทที่ 9 ตรวจสอบค่าจากฟอร์มด้วย Form Validation Library

เรียนรู้การใช้งานไลบรารี Form Validation เพื่อช่วยตรวจสอบค่าต่างๆ จากฟอร์ม เช่น การตรวจสอบค่าอีเมล ตัวเลข หรือไอพีแอดเดรส รวมถึงการสร้างข้อความเพื่อแสดงเมื่อข้อมูลในฟอร์มที่ส่งมาไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ การใช้งานไลบรารี Form Validation จะช่วยให้เราได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์เพื่อนำไปใช้งานหรือประมวลผลต่อไป

  • ฟังก์ชันสำหรับการใช้งานใน Controller
    • ฟังก์ชัน set_rules()
    • ฟังก์ชัน run()
    • ฟังก์ชัน set_message()
    • ฟังก์ชัน set_error_delimiters()
  • การเรียกใช้งานฟังก์ชันใน View
    • ฟังก์ชัน form_error()
    • ฟังก์ชัน validation_errors()
    • ฟังก์ชัน set_value()
  • ตัวอย่างการใช้งาน
  • การใช้งานกฎต่างๆ (Rules)
  • การสร้างกฎ (Rule) ใหม่

บทที่ 10 Calendar สร้างปฏิทิน และ File Upload Library อัปโหลดไฟล์

ไลบรารี Calendar จะช่วยให้เราสามารถสร้างปฏิทินไว้แทรกบนเว็บเพจโดยไม่ต้องเขียนโค้ดยาวๆ และเรียนรู้การกำหนดรูปแบบค่าคอนฟิกต่างๆ ของไลบรารี Calendar เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มที่ ส่วนไลบรารี File Upload เป็นฟังก์ชันที่จะช่วยให้สามารถอัปโหลดไฟล์ได้ทั้งแบบทีละไฟล์หรือหลายๆ ไฟล์พร้อมกันก็ได้

  • การใช้งานไลบรารี Calendar
    • การเรียกใช้งานไลบรารี Calendar
    • การกำหนดค่า Calendar
    • การสร้างเทมเพลต
  • การใช้งานไลบรารี File upload
    • ฟังก์ชัน do_upload()
    • ฟังก์ชัน display_errors()
    • ฟังก์ชัน data()
    • ตัวอย่างการใช้งานไลบรารี File upload
    • ตัวอย่างการอัปโหลดไฟล์แบบหลายไฟล์

บทที่ 11 การใช้งาน Image, FTP และ E-Mail Library

Image เป็นไลบรารีที่ช่วยจัดการกับรูปภาพ ไม่ว่าจะเป็นการหมุน ตัด หรือแม้แต่การทำ Watermark ให้กับรูปภาพ ส่วนไลบรารี FTP ช่วยให้เราสามารถอัปโหลดหรือดาวน์โหลดไฟล์จาก FTP Server และไลบรารี E-Mail เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถส่งเมลได้ง่ายขึ้น

  • การใช้งานไลบรารี Image
    • การเรียกใช้งานไลบรารี Image
    • การย่อภาพ (Image Resize)
    • การหมุนภาพ (Image Rotating)
    • การตัดภาพ (Image Cropping)
    • การสร้างภาพลายน้ำหรือ Watermark (Image Watermarking)
  • การใช้ไลบรารี FTP
    • การเรียกใช้งานไลบรารี FTP
    • การเชื่อมต่อกับ FTP server
    • การอัปโหลดไฟล์
    • การดาวน์โหลดไฟล์
    • การย้ายไฟล์
    • การเปลี่ยนชื่อไฟล์
    • การลบไฟล์
    • การลบโฟลเดอร์
    • การแสดงรายชื่อไฟล์
    • การสร้างโฟลเดอร์
    • การกำหนดสิทธิของไฟล์หรือโฟลเดอร์
  • ใช้งานไลบรารี E-Mail
    • การเรียกใช้งานไลบรารี E-Mail
    • การส่งอีเมล
    • การแนบไฟล์ไปกับอีเมล

บทที่ 12 พัฒนาระบบ E-Commerce ด้วย Session และ Shopping Cart Library

ไลบรารี Session ช่วยในการสร้างตัวแปร Session, การดึงข้อมูลจากตัวแปร Session ส่วน Shopping Cart เป็นไลบรารีที่ CodeIgniter ได้เตรียมไว้สำหรับการสร้างระบบตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) เราจะได้เรียนรู้วิธีการเพิ่มสินค้า รวมถึงการแก้ไขรายการผ่านฟังก์ชันต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้สามารถพัฒนาระบบ E-Commerce ได้รวดเร็วขึ้น

  • การใช้งานไลบรารี Session
    • การเรียกใช้งานไลบรารี Session
    • การกำหนดค่าเพิ่มเติมสำหรับ Session
    • การสร้างตัวแปร Session
    • การเรียกใช้ตัวแปร Session
    • การลบค่าในตัวแปร Session
    • การใช้งาน Session flashdata
    • การลบตัวแปร Session
    • การใช้งาน Session กับฐานข้อมูล
    • ตัวอย่างการใช้งาน Session ในระบบ Login
  • การใช้งานไลบรารี Cart
    • การเรียกใช้งานไลบรารี Cart
    • การเพิ่มสินค้า
    • การแสดงข้อมูลสินค้า
    • การแก้ไขรายการสินค้า
    • การลบรายการสินค้า
    • การลบรายการสินค้าทั้งหมดในตะกร้าสินค้า
  • ตัวอย่างการใช้งานไลบรารี Cart
    • เตรียมฐานข้อมูล
    • กำหนดค่าการทำงาน
    • สร้างคลาส Controller
    • สร้างคลาส Model
    • สร้าง View แสดงรายละเอียด