AutoCAD ฉบับ Workshop for Home Design
ผู้เขียน: ทัศน์ระวี ประไพพงษ์
ISBN: 978-974-7051-03-2
จำนวนหน้า: 320 หน้า
ขนาด: 14.5 x 21 ซม.
รูปแบบหนังสือ:
หนังสือขาวดำ
ราคาปก: 195 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 170 บาท
- สุดยอดคู่มือเขียนแบบบ้าน ด้วยโปรแกรม AutoCAD ภาค 2 มิติ ที่ครบถ้วนทุกเนื้อหา สามารถนำไปใช้ประกอบการเขียนแบบได้จริง ตั้งแต่เวอร์ชัน R14 จนถึงเวอร์ชันล่าสุด เหมาะกับนักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ โดยอธิบายถึงการขึ้นแบบบ้านพักอาศัย ครอบคลุมตั้งแต่แบบแปลน รูปด้าน รูปตัด แบบขยายสถาปัตยกรรม แบบขยายวิศวกรรม ฯลฯ
หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง
- ผู้ที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบบ้าน ตลอดจนงานด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ด้วยคอมพิวเตอร์
- ผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม AutoCAD
จะอ่านหนังสือเล่มนี้ควรรู้อะไรมาก่อนบ้าง
- รู้วิธีการใช้งานระบบ Windows 2000/XP/Vista
จะทดลองปฏิบัติตามเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ ต้องมีอะไรบ้างในเครื่องพีซี
- มีซีพียู 2.2 GHz ขึ้นไป
- มีหน่วยความจำ 512 MB ขึ้นไป (หรือมีหน่วยความจำ 2 GB สำหรับเครื่องที่ใช้ซีพียู AMD64 หรือ Intel EM64T 64-bit)
- มีพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ 750 MB สำหรับใช้ติดตั้งโปรแกรม AutoCAD
- มีระบบ Windows 2000 (SP4) หรือ XP (SP2) หรือ Vista
- มีโปรแกรม AutoCAD เวอร์ชันใดก็ได้ ตั้งแต่ R14 จนถึง 2008
บทที่ 1 ทำความรู้จักและตั้งค่าเบื้องต้น
แนะนำวิธีและขั้นตอนการตั้งค่าเบื้องต้น ที่จะช่วยให้เราใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วแม่นยำมากยิ่งขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากเลยทีเดียว
- คำสั่ง Snap / Grid
- คำสั่ง Object Snap
- คำสั่ง Dynamic Input
- คำสั่ง Zoom
- คำสั่ง Layer
- คำสั่ง Options
บทที่ 2 คำสั่งที่จำเป็นในการใช้งานโปรแกรม
แนะนำขั้นตอนการใช้งานคำสั่งในการเขียนแบบอย่างรวดเร็ว อ่านง่าย และใช้ได้จริง โดยครอบคลุมทุกคำสั่งทั้งหมด
- ส่วนที่ 1 : คำสั่งเบื้องต้นในการเขียนชิ้นงาน
- คำสั่ง Line
- คำสั่ง Construction Line
- คำสั่ง Polyline
- คำสั่ง Polygon
- คำสั่ง Rectangle
- คำสั่ง Arc
- คำสั่ง Circle
- คำสั่ง Revision Cloud
- คำสั่ง Spline
- คำสั่ง Ellipse
- คำสั่ง Ellipse Arc
- คำสั่ง Make Block
- คำสั่ง Insert Block
- คำสั่ง Point
- คำสั่ง Hatch และ Gradient
- คำสั่ง Region
- คำสั่ง Table
- คำสั่ง Multiline Text
- ส่วนที่ 2 : คำสั่งเบื้องต้นในการแก้ชิ้นงาน
- คำสั่ง Erase
- คำสั่ง Copy
- คำสั่ง Mirror
- คำสั่ง Offset
- คำสั่ง Array
- คำสั่ง Move
- คำสั่ง Rotate
- คำสั่ง Scale
- คำสั่ง Stretch
- คำสั่ง Trim
- คำสั่ง Extend
- คำสั่ง Fillet
- คำสั่ง Explode
- ส่วนที่ 3 : คำสั่งสำหรับการบอกระยะ
- คำสั่ง Dimension Style
- คำสั่ง Linear Dimension
- คำสั่ง Aligned Dimension
- คำสั่ง Arc Length Dimension
- คำสั่ง Ordinate Dimension
- คำสั่ง Radius Dimension
- คำสั่ง Diameter Dimension
- คำสั่ง Angular Dimension
- คำสั่ง Quick Dimension
- คำสั่ง Baseline Dimension
- คำสั่ง Continue Dimension
- คำสั่ง Center Mark
- คำสั่ง Dimension Text Edit
บทที่ 3 ตัวอย่างการเขียนแบบแปลน
แนะนำขั้นตอนการขึ้นแบบแปลนที่ง่ายและรวดเร็ว ซึ่งนักเขียนแบบมือใหม่จำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ไว้ อันจะทำให้รู้จักไปดัดแปลงคำสั่งเพื่อใช้งานเขียนแบบด้านอื่นๆ
- 1. กำหนดพื้นที่ทำงาน
- 2. กำหนด Osnap ที่จำเป็น
- 3. กำหนด Layer
- 4. บันทึกไฟล์งาน
- เขียนแบบแปลนพื้นชั้นที่ 1
- 1. สร้างเส้นโครงร่างระยะเสา
- 2. กำหนดหัวเสา
- 3. สร้างผนังห้อง
- 4. สร้าง/วางตำแหน่งประตู-หน้าต่าง
- 5. ถมสีดำให้กับผนัง
- 6. กำหนดแปลนบันได
- 7. กำหนดลายพื้น
- 8. ทำสำเนาแบบแปลนเก็บไว้
- 9. ใส่สัญลักษณ์ประกอบแบบ
- เขียนแบบแปลนพื้นชั้นที่ 2
- เขียนแบบแปลนหลังคา
บทที่ 4 ตัวอย่างการเขียนแบบรูปด้าน
อธิบายวิธีการนำเอาแบบแปลนมาขึ้นเป็นรูปด้าน เขียนยังไงให้รวดเร็ว และต้องจินตนาการลงไปด้วยว่าหน้าตาบ้านจะเป็นอย่างไร
- เขียนแบบรูปด้านหน้า
- 1. นำแปลนมาทำเส้นร่าง
- 2. กำหนดระดับความสูง
- 3. เริ่มตกแต่งในส่วนที่เห็นก่อน
- 4. เก็บรายละเอียดในส่วนต่อไปจนครบ
- 5. นำแบบแปลนชั้นที่ 2 มาเป็นแบบร่าง
- 6. เก็บรายละเอียดในส่วนต่อไปจนครบ
- 7. เขียนแบบหลังคาใหญ่
- เขียนแบบรูปด้านข้างขวา
บทที่ 5 ตัวอย่างการเขียนแบบรูปตัด
อธิบายวิธีการขึ้นแบบรูปตัดโครงสร้างทั้งหมดภายในบ้าน แต่ละชั้นสูงเท่าไหร่ มีส่วนประกอบอะไรบ้าง และต้องเขียนอย่างไร ภาพจึงจะสมบูรณ์ที่สุดด้วย
- เขียนแบบรูปตัด A
- 1. นำแปลน/รูปด้านมาทำเส้นร่าง
- 2. กำหนดแนวผนัง
- 3. เริ่มใส่รายละเอียดแต่ละห้อง
- 4. ถมดำใส่รายละเอียด
- 5. เก็บรายละเอียดเสาโชว์โรงจอดรถ
- 6. นำแบบแปลนชั้นที่ 2 มาเป็นแบบร่าง
- 7. กำหนดความหนาพื้นและคานให้กับชั้นที่ 2
- 8. ใส่รายละเอียดแต่ละห้อง
- 9. เขียนรายละเอียดหลังคาโรงจอดรถ
- 10. เขียนโครงหลังคาหลัก
- 11. ใส่เสาคานคอดิน/ฐานราก/เสาเข็ม
- เขียนแบบรูปตัด B
- ใส่รายละเอียดสัญลักษณ์ประกอบแบบ
บทที่ 6 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายโครงสร้าง
แสดงแบบขยายที่จำเป็นต้องมีในการเขียนแบบบ้านพักอาศัย สามารถนำเอาไปใช้งานได้เลย ไม่ว่าจะเป็นขนาดและวัสดุที่ใช้
- แบบขยายผังโครงสร้าง
- 1. แบบขยายผังฐานราก
- 2. แบบขยายผังคาน/พื้นชั้นที่ 1
- 3. แบบขยายผังคาน/พื้นชั้นที่ 2
- 4. แบบขยายผังคานอะเส
- 5. แบบขยายโครงหลังคา
- แบบขยายฐานราก หน้าตัดคาน/พื้น
- แบบขยายฐานราก
- แบบขยายหน้าตัดคาน/พื้น
บทที่ 7 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายงานสถาปัตยกรรม
แสดงตัวอย่างการเขียนแบบโครงสร้างบันได และรูปด้านของประตู-หน้าต่าง
- แบบขยายบันได
- แบบขยายประตู-หน้าต่าง
บทที่ 8 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายแปลนไฟฟ้า
แสดงตัวอย่างการเขียนแบบแปลนไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดในบ้านพักอาศัย
- เขียนแบบแปลนไฟฟ้าชั้นที่ 1-2
บทที่ 9 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายงานสุขาภิบาล
แสดงตัวอย่างการเขียนแบบแปลนสุขาภิบาล บ่อพัก ถังบำบัด ในบ้านพักอาศัย
- เขียนแบบแปลนสุขาภิบาลชั้นที่ 1-2
- เขียนแบบขยายห้องส้วม 1-2
- แบบขยายถังบำบัดและบ่อพัก
บทที่ 10 รายละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง
นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป สามารถนำเอารายละเอียดประกอบแบบนี้ ไปประยุกต์ใช้กับงานของคุณได้
- รายการสารบัญแบบ
- รายการสัญลักษณ์แบบ
- เงื่อนไขทั่วไป
- รายละเอียดการก่อสร้าง
บทที่ 11 การพล็อตแบบ
เป็นเรื่องราวที่นักเขียนแบบมือใหม่ไม่เข้าใจเป็นอันมาก ถ้าเราทำความเข้าใจเกี่ยวกับการใส่ค่าสเกลได้อย่างถูกต้องแล้ว รับรองว่าไม่ว่ากระดาษขนาดใดก็แล้วแต่ คุณจะต้องพล็อตออกมาได้แน่นอน
- ตั้งขนาดเบอร์ปากกา
- พล็อตแบบที่ได้เขียนไปแล้ว
บทที่ 12 การตั้งค่าขั้นสูง
เป็นการตั้งค่าอีกรูปแบบหนึ่ง ที่อาจจะไม่จำเป็นต้องตั้งค่าก็ได้ แต่ถ้ารู้ไว้ก็จะทำให้คุณมีความสามารถเหนือกว่าคนอื่นๆ แล้ว
- สเป็กเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงโปรแกรมได้
- คำสั่งย่อของแต่ละคำสั่ง
- ตั้งค่าให้โปรแกรมแสดงส่วนโค้ง
- การบันทึกไฟล์งานด้วยนามสกุลอื่นๆ
- การบันทึกไฟล์งานให้เป็นรูปภาพ
- เอารูปภาพมาวางประกอบแบบในโปรแกรม
- ตั้งค่าไม่ให้โชว์ไฟล์ AutoCAD
- ใส่รหัสผ่านก่อนเปิดไฟล์งาน
- ปัญหาสระลอยตอนพล็อตแบบ
ภาคผนวก ดัชนีคำศัพท์เทคนิค
นำเสนอคำศัพท์เทคนิค (Technical Term) เกี่ยวกับคำสั่งของโปรแกรม รวมถึงคำศัพท์ที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรมและงานวิศวกรรม โดยแบ่งคำศัพท์เป็นบทๆ มาให้ทบทวนกันอย่างชัดเจนทั้ง 12 บท