พื้นฐานการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ผู้เขียน: ธนันต์ ศรีสกุล
ISBN: 978-611-7119-02-6
จำนวนหน้า: 320 หน้า
ขนาด: 17 x 22 x 1.7 ซม.
รูปแบบหนังสือ: หนังสือขาวดำ

ราคาปก: 150 บาท
ราคาสั่งซื้อ: 130 บาท
ส่งหน้านี้ให้เพื่อน  


    สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาและทำความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ไดโอด, ทรานซิสเตอร์, เฟต, ไอซี ฯลฯ ตลอดจนการออกแบบวงจรที่ใช้อุปกรณ์เหล่านี้ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานด้านการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป

หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใครบ้าง

  • นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) และปริญญาตรี สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาไฟฟ้า
  • บุคคลทั่วไปที่สนใจงานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์

หนังสือเล่มนี้ใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาอะไรบ้าง

  • งานพื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์
  • การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
  • การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง
...และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วยอะไรบ้าง

  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยไดโอด (Diode)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์ (BJT)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้ามอสเฟต (MOSFET)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยออปแอมป์ (Op-Amp)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรแอมปลิจูดมอดูเลชันและแอมปลิจูดดีมอดูเลชันด้วยไอซี AD633
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยอุปกรณ์โอทีเอ (OTA)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรผลิตความถี่ด้วยออปแอมป์และเฟต
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรกรองความถี่
  • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณลอการิธึม
  • รวมตัวอย่างการออกแบบวงจรที่น่าสนใจ


บทที่ 1 พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยไดโอด (Diode)

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไดโอด
  • พื้นฐานการคำนวณไดโอด
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยไดโอด
    • วงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบครึ่งคลื่น
    • วงจรแหล่งจ่ายไฟตรงแบบเต็มคลื่น
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรด้วยไดโอด

บทที่ 2 พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์ (BJT)

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทรานซิสเตอร์
  • พื้นฐานการคำนวณทรานซิสเตอร์
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์
    • ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์แบบที่ 1
    • ออกแบบวงจรไบแอสทรานซิสเตอร์ (BJT) แบบที่ 2
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์

บทที่ 3 พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้ามอสเฟต (MOSFET)

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมอสเฟต
  • พื้นฐานการคำนวณมอสเฟต
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยมอสเฟต
    • ออกแบบวงจรไบแอสมอสเฟตแบบที่ 1
    • ออกแบบวงจรไบแอสมอสเฟตแบบที่ 2
    • ออกแบบวงจรไบแอสมอสเฟตแบบที่ 3
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรด้วยมอสเฟต

บทที่ 4 พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยออปแอมป์ (Op-Amp)

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออปแอมป์
  • พื้นฐานการคำนวณออปแอมป์
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยออปแอมป์
    • การออกแบบวงจรตามสัญญาณแรงดัน
    • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส
    • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส

บทที่ 5 พื้นฐานการออกแบบวงจรแอมปลิจูดมอดูเลชันและแอมปลิจูดดีมอดูเลชันด้วยไอซี AD633

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไอซีเบอร์ AD633
  • พื้นฐานการคำนวณไอซีเบอร์ AD633
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยไอซีเบอร์ AD633
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบ

บทที่ 6 พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยอุปกรณ์โอทีเอ (OTA)

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโอทีเอ (OTA)
  • พื้นฐานการคำนวณโอทีเอ (OTA)
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรด้วยโอทีเอ
    • วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส
    • วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรด้วยอุปกรณ์โอทีเอ

บทที่ 7 พื้นฐานการออกแบบวงจรผลิตความถี่ด้วยออปแอมป์และเฟต

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรผลิตความถี่
  • พื้นฐานการคำนวณวงจรผลิตความถี่
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรผลิตความถี่ด้วยออปแอมป์และเฟต
    • การออกแบบวงจรผลิตความถี่แบบ Wien-Bridge Oscillator
    • การออกแบบวงจรผลิตความถี่แบบ Hartley
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรผลิตความถี่ด้วยออปแอมป์และเฟต

บทที่ 8 พื้นฐานการออกแบบวงจรกรองความถี่

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรกรองความถี่
  • พื้นฐานการคำนวณเกี่ยวกับวงจรกรองความถี่
  • พื้นฐานการออกแบบวงจรกรองความถี่ด้วยอุปกรณ์ต่างๆ
    • การออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านลำดับ 1
    • การออกแบบวงจรกรองความถี่สูงผ่านลำดับ 1
    • การออกแบบวงจรกรองความถี่สูงผ่านลำดับ 2
    • การออกแบบวงจรกรองแถบความถี่ผ่าน (BPF)
    • การออกแบบวงจรกำจัดแถบความถี่ (BRF)
  • ตัวอย่างการคำนวณและการออกแบบวงจรกรองความถี่

บทที่ 9 การออกแบบวงจรขยายสัญญาณลอการิธึม

  • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณลอการิธึมแบบที่หนึ่ง
  • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณลอการิธึมแบบที่สอง
  • การออกแบบวงจรขยายสัญญาณลอการิธึมแบบที่สาม

บทที่ 10 รวมตัวอย่างการออกแบบวงจรที่น่าสนใจ

  • การออกแบบวงจรทวีความถี่สองเท่า
  • วงจรถอดรากที่สองโดยใช้ไอซีเบอร์ AD633
  • ออกแบบวงจรหารสัญญาณด้วยไอซีเบอร์ AD633
  • วงจรเปลี่ยนแรงดันเป็นกระแสโดยใช้ไอซีเบอร์ AD633

ดัชนี